โครงการสนับสนุนชุมชนทองถิ่นเพื่อฟนฟู ชายแดนภาคใตของประเทศไทย | เลม 2 มิติหญิงชาย กับการพัฒนา ในพื้นที่ขัดแยง ในประเทศไทย ที่มาและเหตุผล ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ความขัดแยงทีด ่ ำเนินมานานนับศตวรรษ และศั ก ยภาพที ่ จ ะเสริ ม สร า งสั น ติ ภ าพและภู ม ิ ค ุ  ม กั น (resilience) ในสามจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย คือจังหวัดปตตานี ในพื้นที่ งานศึกษาทั้งสองชิ้นนี้เปนรากฐานของการออกแบบแผน ยะลา และ นราธิวาส ไดปะทุขน ้ึ ในรูปของเหตุการณรน ้ั มา ุ แรง นับแตนน ดำเนิ น งานระยะที ่ ส องของโครงการนำร อ ง”โครงการสนั น สนุ น เสียงระเบิดและการเสียชีวิตในพื้นที่แหงนี้ก็กลายเปนสถานการณที่ ชุมชนทองถิ่นเพื่อฟนฟูชายแดนภาคใต” เกิ ด ขึ ้ น เป น ประจำ ความไม ส งบในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ้ ไดสง นัน  ผลกระทบตอประชากรแลวกวา 9,000 คน และทำใหสตรีกวา เอกสารนี ้ เป น เอกสารชิ ้ น ที ่ ส องของชุ ด เอกสารฉบั บ ย อ เพื ่ อ ให 1,000 คนตองกลายเปนหมาย รวมทั้งทำใหเด็กอีก 1,200 กวาคน ขอมูลเกี่ยวกับการออกแบบ การดำเนินโครงการ และผลลัพธของ ตองกำพราพอหรือแมอีกดวย โครงการนำรองดังกลาวแกผูมีสวนไดสวนเสียในวงกวาง และเปน ภาคสรุปของรายงานฉบับเต็มชื่อ “Gender Needs Assessment in ระหว า งป พ .ศ. 2550 ถึ ง 2551 ธนาคารโลกได ใ ห ก ารสนั บ สนุ น Conflict-Affected Areas in Thailand’s Southernmost Provinces” 2 ทางวิชาการแกรฐ ั บาลไทยในการศึกษาความขัดแยงและใหขอ เสนอแนะ (การประเมินความตองการหญิงชายในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจาก ในการสร า งความสมานฉั น ท ใ นสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ความขัดแยงในสามจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย) การศึกษานี้ไดรับการสนันสนุนผานกองทุนชื่อ State and Peace- Building Fund (SPF) )1 ธนาคารโลกยั ง ได จ ั ด หางบประมา 1 ่ ง State and Peace-Building Fund (SPF)เปนกองทุนของธนาคารโลกทีม ุ ่ เติมจาก โครงการ The Gender Action Plan2 สำหรับการศึกษา เพิม ชวยเหลือในดานการสรางสันติภาพและศักยภาพของรัฐ ผลกระทบของความขัดแยงในประเด็นมิติหญิงชาย ตลอดจนปจจัย 2 The Gender Action Plan เปนความริเริม ่ ของธนาคารโลกในป 2549 และเปน กองทุนทีม่ ธี นาคารโลกรวมทัง  ริจาค ้ ประเทศอุตสาหกรรมอีก 4 ประเทศเปนผูบ กองทุนนีม ้ จ ุ ประสงคเพือ ี ด ่ สนับสนุนโอกาสทางเศรษฐกิจของสตรีและสงเสริม ใหประเทศสมาชิกสามารถบรรลุเปาหมายเพือ ่ การพัฒนาแหงสหัสวรรษวาดวย การสรางความเสมอภาคใหแกหญิงและชาย 3 Social Development Notes East Asia and Pacific Series, No. 127/May 2010 (socialdevelopment@worldbank.org) 1 Expanding Community Approaches in Con ict Situations วัตถุประสงคของการประเมิน ความตองการของหญิงและชาย เพิ ่ ม คุ ณ ค า และสนั บ สนุ น งานศึ ก ษาเกี ่ ย วกั บ ความขั ด แย ง ที ่ ใ ช งบประมาณจาก SPF โดย 1.) สรางความเขาใจวาผลกระทบจาก ความขัดแยงที่มีตอเพศชายและเพศหญิงนั้นแตกตางกันอยางไร และ 2) ระบุ ค วามต อ งการของผู  ช ายและผู  ห ญิ ง ที ่ ไ ด ร ั บ ผลกระทบ จากความขัดแยงโดยตรง เพิ่มองคความรูในเรื่องที่เกี่ยวกับผูหญิง ผูชาย และครอบครัวที่ไดรับ ผลกระทบจากความขัดแย ง รวมทั ้ ง ในนโยบายแก ไ ขป ญ หาความ ขัดแยงของภาครัฐ ให ข  อ คิ ด เห็ น ที ่ จ ะเป น ประโยชน ต  อ การดำเนิ น โครงการนำร อ ง ”โครงการสนันสนุนชุมชนทองถิ่นเพื่อฟนฟูชายแดนภาคใต” แนวทาง กลุมเปาหมายและพื้นที่ คณะทำงานเพือ ่ ประเมินความตองการทีแ ่ ตกตางระหวางหญิงและชาย ซึ่งไดรับผลกระทบจากความขัดแยงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต อันมีอาจารยเพ็ญพักตร ทองแท แหงมหาวิทยาสงขลานครินทร วิ ท ยาเขตป ต ตานี เป น ผู  น ำ ได เ ข า ปฏิ บ ั ต ิ ง านในพื ้ น ที ่ ต ั ้ ง แต เ ดื อ น สิงหาคม 2551 จนถึงเดือนกันยายน 2552 ไดเรียนรูแ  นวทางปฏิบต ั งิ าน สรุปผลการศึกษาที่สำคัญ จากคณะผูเชี่ยวชาญดานมิติหญิงชายซึ่งประกอบดวยตัวแทนจาก ภาควิ ช าการ องค ก รด า นการพั ฒ นาพหุ ภ าคี และองค ก รภาค การประเมินความตองการนี้ไดถูกแบงออกเปนสองสวน สวนแรกคือ ประชาสังคม การทบทวนวรรณกรรมหรือขอมูลเกี่ยวกับมิติดานหญิงชายในพื้นที่ ่ องคือการหารือกับกลุม สวนทีส  เปาหมาย (focus group discusions) การประเมินความตองการดั ง กล าวครอบคลุ ม พื ้ น ที ่ 12 ตำบลที ่ ประเด็นสำคัญจากผลการประเมินความตองการของหญิงและชาย รัฐบาลจัดวาเปนพืน ่ แ ้ ทีส ี ดงหรือสีเหลือง (ตามระดับของความรุนแรง) มีดังตอไปนี้ ในจังหวัดปตตานี ยะลาและนราธิวาสโดยมุงเนนกลุมคนผูดอยโอกาส อั น เป น ผลมาจากความรุ น แรงและความขั ด แย ง ที ม งานทำงาน การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) รวมกับผูที่ไดรับผลกระทบ 100 คนจากคนสี่กลุมหลักในพื้นที่กลุม ละ 25 คน คือ ผูหญิงมุสลิม ผูห  ญิงพุทธ ผูช  ายมุสลิม และผูช  ายพุทธ ทีมงานไดทบทวนวรรณกรรมที่เขียนขึ้นเกี่ยวกับประเด็นผูหญิงใน โดยที่บุคคลทั้งหมดนี้ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงทั้งโดยตรง ภาคใต ทีไ ั การจัดพิมพเผยแพรในชวง 30 ปทผ ่ ดรบ  นมาทัง ่ี า ้ จำนวน ้ สิน หรื อ ทางอ อ มลั ก ษณะสำคั ญ ของบุ ค คลที ่ เ ป น กลุ  ม เป า หมายของ 17 ชิ้นดวยกัน ในหัวขอที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม ความเชื่อทางศาสนา การประเมิ น ความต อ งการครั ้ ง นี ้ เ ป น ผู  ช ายที ่ ร ั ฐ บาลจั ด ว า เป น เศรษฐศาสตร การพัฒนาการมีสว  นรวมความขัดแยงกับความรุนแรงและ “กลุมเสี่ยง” ผูหญิงที่สามีหรือบุตรถูกจัดวาเปน ”กลุมเสี่ยง” ผูชายที่ ความตองการ งานวิจัยในปแรกๆระบุวา ผูหญิงมุสลิมในภาคใตที่ใช ไดรับการปลอยตัวภายหลังจากที่โดนสอบสวนแลว ผูหญิงที่สามี ภาษามลายูเปนหลักดำเนินวิถีชีวิตตามครรลองกฏเกณฑอิสลาม หรือบุตรทีไ ั การปลอยตัวภายหลังจากทีโ ่ ดรบ ่ ดนสอบสวนแลว บุคคล ทั ้ ง ในเรื ่ อ งบทบาทและหน า ที ่ ข องพวกเธอต อ สามี แ ละครอบครั ว ที่สูญเสียสมาชิกในครอบครัวหรือญาติและบุคคลที่ไดรับบาดเจ็บ และพวกเธอพยายามรักษาไวซึ่งอัตลักษณทางวัฒนธรรมดวยการ หรือไดรับผลกระทบทางออมจากความขัดแยง แตงงาน การใชภาษา การแตงกายและการเลีย ้ งดูบต  ญิงจำนวน ุ ร ผูห มากสานต อ ประเพณี ม ลายู ใ นด า นการมี ส  ว นร ว มในกิ จ กรรม ทางเศรษฐกิ จ ซึ ่ ง รวมถึ ง การประกอบธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก ขายของ ในตลาด ออกกรีดยาง รวมทั้งทำงานตามโรงงานบางในชวงหลัง การทำงานนอกบ า นเป ด พื ้ น ที ่ ใ ห ผ ู  ห ญิ ง มุ ส ลิ ม มลายู ไ ด ม ี โ อกาส ปฏิสัมพันธกับผูหญิงชาวพุทธ บทบาทคูขนานของการที่ตองเปน ทั้งแมบานและไปทำงานนอกบานดวยนั้นกลายเปนขอจำกัดสำหรับ โอกาสในการศึกษาตอของผูหญิง การที่ผูหญิงไมมีโอกาสศึกษาตอ ในระดับสูงนี้ยังสงผลใหมีรายไดต่ำและมีรายไดที่ไมแนนอนอีกดวย 2 in the Southernmost Provincesin Thailand (ECACS) ผูหญิงที่มีสวนรวมในโครงการพัฒนามักเปนกลุมที่มีสวนรวมกับ ความต อ งการทางด า นสั ง คม ความต อ งการทางเศรษฐกิ จ กิจกรรมกลุมในชุมชนมากอนแลว เชน กลุมออมทรัพย กลุมสหกรณ และความต อ งการทางกายภาพ ผู  ช ายมุ ส ลิ ม ถู ก คาดหวั ง ให ท ำ หรือกลุมทอผา เปนตน ผูหญิงชาวพุทธมีแนวโนมที่จะมีสวนรวม หนาที่ผูนำในเรื่องสำคัญ ๆ ของครอบครัว รวมทั้งการมีสวนรวม ในกิจกรรมการพัฒนาชุมชนมากกวาผูหญิงมุสลิม ขณะเดียวกัน ในกิจกรรมชุมชนดวย การทีผ ู ายเหลานีเ ่ ช ่ พงเล็งของหนวยงาน ้ ปนทีเ ผูหญิงมุสลิมก็ใหความสนใจในเรื่องการเลือกตั้งทั้งระดับทองถิ่น ดานความมั่นคงก็ทำใหการรวมกลุมของผูชายเหลานี้ทำไดยากขึ้น และระดับชาติมากกวา ความเชือ ่ และวิถปี ฏิบตั ม ิ ส ุ ลิมสรางขอจำกัดบาง แมจะเปนการรวมกลุม ่ ใหการสนับสนุนกันและกันในดานบวกก็ตาม  เพือ ประการสำหรับผูห  ญิงมุสลิมในการทีจ่ ะมีสว นรวมในกิจกรรมสาธารณะ การถูกเพ็งเล็งจำกัดโอกาสดานการงานสำหรับพวกเขา สวนพวกที่ รวมถึงขอจำกัดในเรื่องการที่ผูหญิงมุสลิมไมสามารถสนทนากับ ไมสามารถทำงานไดเนื่องจากบาดเจ็บสาหัสก็มักจะรูสึกวาตัวเอง  ายอืน ผูช ่ ทีไ ่ มใชสามีของตนได และการทีพ ่ วกเธอไมมโ ี อกาสไดเขารวม ดอยคุณคา ทำใหลดบทบาทของตนลงทั้งในครอบครัวและชุมชน ประชุ ม ที ่ ม ั ส ยิ ด หลั ง ละหมาดใหญ ท ุ ก วั น ศุ ก ร ท ี ่ ผ ู  ช ายเท า นั ้ น ที ่ สามารถเขารวมได ขณะที่สถานภาพดานวิชาชีพ ในหมูผูมีสวนรวมในการศึกษาครั้งนี้ที่ เปนชาวพุทธคอนขางจะมั่นคงสัดสวนของชาวมุสลิมที่ทำการคา การวิ จ ั ย ในระยะหลั ง ชี ้ ใ ห เ ห็ น ว า จำนวนผู  ห ญิ ง ที ่ ไ ด ร ั บ ผลกระทบ หรื อ ธุ ร กิ จ กลั บ ลดลงเหลื อ เพี ย งครึ ่ ง หนึ ่ ง ของที ่ เ คยเป น ก อ นเกิ ด โดยตรงและทางอ อ มจากความรุ น แรงนั ้ น มี ม ากขึ ้ น และผู  ห ญิ ง ความรุนแรงในภาคใต ระดับของการวางงานจำนวนของผูหญิงที่ ต อ งรั บ ภาระหนั ก มากในระหว า งที ่ ค วามขั ด แย ง ยั ง คงดำเนิ น อยู  รายงานวาอาชีพของพวกเธอคือเปนแมบานและจำนวนของผูที่มี ภาระหนาที่การดูแลครอบครัวใหมีอยูมีกินมักจะตกเปนของผูหญิง รายไดจากการรับจางรายวันตางก็เพิ่มขึ้นในหมูชาวมุสลิม หลังจากที่สามีผูเปนหัวหนาครอบครัวเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บ ผูหญิงบางคนที่สมาชิกในครอบครัวมีสวนพัวพันกับคดีความตอง แมหมายตองรับบทบาทใหมในการหารายไดเพิ่มเติมใหกับครอบครัว ดิ้นรนเพื่อหารายไดและใหความปลอดภัยกับญาติคนอื่น ในขณะที่ ดวยความชวยเหลือจากองคกรภายนอกผูหญิงที่ไดรับผลกระทบ ตองตอสูเพื่อลางมลทินแกชื่อเสียงของครอบครัวดวย จำนวนมากสามารถที ่ จ ะรวมตั ว กั น เป น กลุ  ม ที ่ ช  ว ยเหลื อ เกื ้ อ กู ล ซึ่งกันและกัน ผูหญิงบางคนไดเรียนรูที่จะหาทางเขาถึงกระบวนการ ในภาพรวมแล ว ผู  ห ญิ ง ไม ส นั บ สนุ น ความรุ น แรงและมี ศ ั ก ยภาพที ่ ยุติธรรมและความชวยเหลือดานกฏหมาย ขณะที่ญาติผูชายโดน จะเป น ผู  ร ั ก ษาสั น ติ ภ าพที ่ จ ะช ว ยสนั บ สนุ น กระบวนการเยี ย วยา กลาวหาวามีสว นรวมในการกอความไมสงบหรือตองติดคุก และกำลัง ผูหญิงเหลานี้สามารถทำงานงานไดดีในเรื่องการสนับสนุนผูที่ไดรับ พยายามใหความกังวลของพวกเธอใหเปนที่รับรูในสังคม นับตั้งแต ผลกระทบและครอบครัว แตยังตองการความชวยเหลือมากกวานี้ ปพ.ศ. 2547 เปนตนมา ผูหญิงจำนวนมากขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่ง ในการสงเสริมบทบาทของพวกเธอ แมหมายไดกลายเปนผูนำ ในชุมชนและในระดับประเทศ การหารือและการสัมภาษณกลุมเปาหมาย การหารือกับกลุม  เปาหมาย (focus group discussions) และการสัมภาษณ รายบุคคลชีใ ้ หเห็นถึงความเปลีย ่ นแปลงในเรือ่ งบทบาทของผูช  ายและ  ญิงทีไ ผูห ั ผลกระทบจากความขัดแยง รวมทัง ่ ดรบ ้ หเห็นถึงความตองการ ้ ชีใ ่ ว ในสีห ั เรือ่ งหลัก คือ ความตองการดานความมัน ่ คงปลอดภัย 3 Expanding Community Approaches in Con ict Situations ความตองการดานความมั่นคงปลอดภัย ผูมีสวนรวมในการหารือ ความตองการทางกายภาพ ผูเขารวมใหขอมูลในงานวิจัยครั้งนี้ กลุมทุกคนระบุวาความตองการพื้นฐานหลักของพวกเขาคือเรื่อง ทุกคนรายงานวาพวกเขามีความเครียดอยางมาก ผูหญิงมุสลิม ความมั ่ น คงปลอดภั ย และการยุ ต ิ ค วามรุ น แรง ผู  เ ข า ร ว มประชุ ม บางรายกล า วว า พวกเธอได ร ั บ โภชนาการไม เ พี ย งพอ ผู  เ ข า ร ว ม กลาวถึงความยากลำบากในการเดินทางอยางยิ่งยวด ความเครียด ทุกคนประสบกับความยากลำบากในการสงลูกไปเรียนหนังสือเนื่อง เปนตนตอแหงปญหาสุขภาพทั้งปวงที่ตามมา ทุกคนตางรูสึกวา จากเรื ่ อ งค า ใช จ  า ย นอกจากนี ้ ค ุ ณ ภาพการเรี ย นและการสอน ไมไดรับความยุติธรรมและมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของประชาชน ไดรับผลกระทบในทางลบจากการที่ชั่วโมงการเรียนสั้นลงและปญหา ทำใหเกิดความไมไวเนื้อเชื่อใจในรัฐบาลและเจาหนาที่ดานความมั่นคง ความขัดแยงที่เบี่ยงเบนความสนใจออกจากการเรียนการสอน ขณะเดียวกัน ผูเ ขารวมการวิจย ่ ปนคนไทยพุทธตางรูส ั ทีเ  กึ วาพวกเขา ไมไดรับการปฏิบัติและการชดเชยทัดเทียมกับชาวไทยมุสลิม ขอเสนอแนะ ความตองการดานสังคมชาวพุทธกับมุสลิมอยูร  มกันอยางสมานฉันท  ว ดวยความเคารพในวิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรมและศาสนาของกันและ จากการทบทวนงานเขี ย นทั ้ ง ปวง การหารื อ และการสั ม ภาษณ กันมาเปนเวลาหลายทศวรรษ ทวา นับตั้งแตเหตุความรุนแรงปะทุขึ้น กลุมเปาหมาย การประเมินความตองการที่แตกตางระหวางหญิง  ไ ในปพ.ศ 2547 ผูท ั ผลกระทบจากความขัดแยงตางประสบกับการ ่ี ดรบ และชายซึ ่ ง ได ร ั บ ผลกระทบจากความขั ด แย ง ในสามจั ง หวั ด โดดเดี่ยวทางสังคมและการเลือกปฏิบัติจากผูอื่นภายในชุมชนของ ชายแดนภาคใตมีขอเสนอแนะทั้งในระดับภาพรวมและในระดับปฏิบัติ พวกเขาเอง และแม ก ระทั ่ ง จากคนในครอบครั ว การชดเชยที ่ ค น การเพื่อชวยวางรากฐานในการสรางสันติภาพและการปรองดอง บางกลุมไดรับแตคนอื่นในชุมชนเดียวกันไมไดกอใหเกิดความไมลง ดังนี้ รอยกันภายในชุมชน เพิ่มมาตรการสรางความไวเนื้อเชื่อใจและความมั่นใจในความมั่นคง ความตองการทางเศรษฐกิจความกังวลเรื่องความปลอดภัยและ ปลอดภัยและความยุติธรรมในชุมชนทองถิ่น ความมั่นคงสงผลใหระดับรายไดลดลงตามไปดวย โดยสวนหนึ่ง มาจากการที่ชั่วโมงการทำงานสั้นลงและโอกาสที่จะมีงานทำลดลง ส ง เสริ ม ศั ก ยภาพของผู  ห ญิ ง ในฐานะผู  ส ร า งสั น ติ ภ าพที ่ ส ามารถ ประกอบกับหนี้สินที่เพิ่มพูนขึ้นเนื่องจากตองหาเงินมาซื้ออาหาร สรางความสมานฉันททั้งในดานวัฒนธรรมและศาสนา ดู แ ลเรื ่ อ งการศึ ก ษา และค า ใช จ  า ยเกี ่ ย วกั บ การต อ สู  ค ดี ค วาม ผูรวมในการวิจัยตางขอใหมีการฝกอบรมวิชาชีพและการประกอบ ขยายโอกาสและพื ้ น ที ่ ส าธารณะเพื ่ อ สร า งหลั ก ประกั น ให ผ ู  ห ญิ ง มี ธุรกิจและความชวยเหลือใหสามารถเขาถึงแหลงเงินกูรายยอยเพื่อ ส ว นร ว มในการตั ด สิ น ใจที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ ชุ ม ชน ด ว ยวิ ธ ี ง  า ยๆ เช น สามารถประกอบธุรกิจขนาดเล็กที่บานหรือใกลบานของตน การปรับกำหนดเวลาและสถานที่ในการจัดประชุมชุมชน ตั้งศูนยใหความชวยเหลือ ที่จะทำหนาที่ใหขอมูลและคำแนะนำ สำหรับ ผูหญิงเพื่อใหพวกเธอสามารถทำภารกิจที่โดยธรรมเนียมแลวเปน หนาที่ของผูชาย ตอบสนองความตองการทางกายภาพและดานจิตใจสำหรับครอบครัว ที ่ ไ ด ร ั บ ผลกระทบ โดยครอบคลุ ม ทุ ก กลุ  ม ศาสนาและเชื ้ อ ชาติ อยางทั่วถึง 4 in the Southernmost Provincesin Thailand (ECACS) พัฒนากลไกการใหความชวยเหลือแกเหยื่อความรุนแรงที่เปนผูชาย สรางหลักประกันวาทั้งผูชายและผูหญิงจากกลุมตางๆ โดยเฉพาะ อยางยิ่งผูที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยง จะมีสวนรวมในการ ใหการฝกอบรมวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการเฉพาะบุคคลและ ปรึ ก ษาหารื อ และการตั ด สิ น ใจกิ จ กรรมชุ ม ชน ในขณะเดี ย วกั น ก็ สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน คำนึงถึงขอจ�ำกัดของพวกเขาดวย เชื่อมโยงผูหญิงและผูชายที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงเขากับ ให ข  อ มู ล กั บ หน ว ยงานรั ฐ ที ่ เ กี ่ ย วข อ งในเรื ่ อ งข อ เสนอแนะเฉพาะ องค ก รต า ง ๆ ที ่ จ ะมี ส  ว นช ว ยให เ ขาและเธอสามารถเข า ถึ ง เงิ น กู  เจาะจงจากงานวิจัยชิ้นนี้ รายยอยและการฝกอบรมเรื่องธุรกิจ ใหการสนับสนุนองคกรภาคประชาสังคมและเครือขายที่ชวยเหลือ สร า งหลั ก ประกั น ด า นกองทุ น เพื ่ อ การศึ ก ษาแก น ั ก เรี ย นที ่ ม าจาก ผู  ไ ด ร ั บ ผลกระทบจากความขั ด แย ง และครอบครั ว โดยเฉพาะ ครัวเรือนซึ่งไดสูญเสียหัวหนาครอบครัวไปเพราะเหตุการณรุนแรง อยางยิ่งผูชายที่อาจโดดเดี่ยวตัวเองสืบเนื่องมาจากความขัดแยง หรือที่มาจากครอบครัวซึ่งมีรายไดจำกัด ผานกองทุนประชาสังคม (Peace-building Partnership Fund- PPF) ใหการฝกอบรมเจาหนาที่ภาครัฐและเจาหนาที่ดานความมั่นคงกอน รวบรวมข อ มู ล ที ่ แ ยกเพศ ในด า นตั ว ชี ้ ว ั ด ของข อ มู ล ป อ นเข า ลงไปประจำการในภาคใต เพื ่ อ ส ง เสริ ม ความรู  ค วามเข า ใจด า น ผลิตผลและตัวชี้วัดผลลัพธ วัฒนธรรม ประเพณีความเชื่อและแนวปฏิบัติของชาวไทยเชื้อสาย มลายู บั น ทึ ก และเผยแพร บ ทเรี ย นที ่ ไ ด ร ั บ จากการด�ำเนิ น กิ จ กรรม ในการออกแบบและดำเนินโครงการนำรองที่เนนบทบาทของชุมชน ในการแก ป  ญ หาความขั ด แย ง ในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ซึ่งไดรับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารโลกนั้น การศึกษา การประเมินความตองการซึ่งความแตกตางระหวางหญิงและชายที่ ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงมีขอเสนอแนะดังตอไปนี้ ดำเนินการฝกอบรมเรือ ่ งการพัฒนาชุมชนโดยคำนึงถึงความแตกตาง ิ ญิงชาย ใหแกวท ในมิตห ิ ยากรกระบวนการ (facilitator) ผูป  ระสานงาน ในระดั บ จั ง หวั ด และเจ า หน า ที ่ โ ครงการ เพื ่ อ เสริ ม สร า งความรู  ความเขาใจเกี่ยวกับความตองการเฉพาะและความสนใจของแตละ เพศในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยง 5 Expanding Community Approaches in Con ict Situations อิทธิพลของรายงานการประเมิน ความตองการตอการออกแบบโครงการ โครงการนำร อ ง (CACS) ได ใ ห ก ารสนั บ สนุ น เงิ น ให เ ปล า ผ า น ในการออกแบบโครงการนำรองที่เนนบทบาทของชุมชนในการแก กองทุ น ประชาสั ง คม (PPF) เพื ่ อ ริ เ ริ ่ ม งานนวตกรรมใหม ๆ ปญหาความขัดแยงในสามจังหวัดชายแดนภาคใตนี้ ที่ธนาคารโลก และการเปนหุนสวนที่สงเสริมความไววางใจซึ่งกันและกัน การสราง ไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับจุดประสงคและขอเสนอแนะจากการประเมิน สันติภาพและการพัฒนา ความต อ งการดั ง กล า วแก ท ั ้ ง ผู  บ ริ ห ารและเจ า หน า ที ่ วิ ท ยากร กระบวนการในชุ ม ชนที ่ เ กี ่ ย วข อ ง ผู  ป ระสานงานในระดั บ จั ง หวั ด กลุมเปาหมายสำหรับผูที่จะไดรับประโยชนจากกองทุนประชาสังคม ของสถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา (Local Development Institute) ครอบคลุมถึงทั้งหญิงและชายที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยง ซึ่งเปนผูดำเนินโครงการนี้ ผลลัพธที่ไดก็คือ มี ก ารแยกแยะเพศในดั ช นี ส ำหรั บ วั ด ความคื บ หน า หรื อ สำเร็ จ ของ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีที่จะ โครงการ นำมิติดา นหญิงชายเขาไปเป น องค ประกอบหลั กในการจั ด เตรี ย ม อี ก ทั ้ ง การดำเนิ น โครงการ และการประเมิ น ผลของทั ้ ง โครงการ ทุนพัฒนาสังคม (community block grants) และโครงการกองทุน กันยายน 2553 ประชาสังคม (Peace-building Partnership Fund - PPF) ่ เติมเกีย ขอมูลเพิม ่ ่ วกับโครงการ กรุณาติดตอสถาบันชุมชนทองถิน คณะวิทยากรกระบวนการในชุมชนที่เกี่ยวของ ประกอบดวยหญิง พัฒนา โทร. 662-2-621-7810-2 แมรี่ จัดด ภมรรัตน ตันสงวนวงษ และชายกลุมละ 9 คนเทา ๆ กัน หรือซาราห อดัม ไดทธ ่ี นาคารโลก สำนักงานกรุงเทพฯ โทร. 662-2-686-8361 หรือที่ pchockanapitaksa@worldbank.org ทุ น พั ฒ นาสั ง คมนั ้ น ได ใ ห ก ารสนั บ สนุ น โดยตรงต อ ชุ ม ชน ตำบลและเทศบาล เมื่อกิจกรรมพัฒนาในระดับทองที่โดยที่สมาชิก ้ ด เอกสารนีจ ั ทำภายใต SPF Grant TF094106 ของชุมชนเปนผูกำหนด ดำเนินการติดตามผลและทำใหเกิดโครงการ /กิจกรรม เกิดความยัง ่ ยืนการจัดเตรียมงานดานสังคมของโครงการ ทุนพัฒนาสังคม และกระบวนการวางแผนโครงการยอย ไดออกแบบ ใหมกี ารเปดโอกาสใหสมาชิกชุมชนจากกลุม  ตาง ๆ ในพืน ่ เ ้ ทีท ่ วของ ่ี กีย เขามามีสว ่ งมือการทำ แผนทีแ  นรวม โดยใชเครือ ่ ละใชความเขาใจเรือ ่ ง ความออนไหวของแตละเพศ ไมวาจะเปนขนาดของการประชุม เวลา สำหรั บ การประชุ ม รวมทั ้ ง สถานที ่ ท ี ่ เ ป น มิ ต รต อ สตรี เ พศเป น องคประกอบในการพิจารณาดวย 6 in the Southernmost Provincesin Thailand (ECACS) ชุดเอกสารเผยแพรความรู ฉบับที่ หัวขอ 1. อิทธิพลของการวิจัยดานความขัดแยงตอการออกแบบโครงการนำรองเพื่อเนนบทบาทของชุมชน ในการแกไขสถานการณความขัดแยง 2. บทบาทหญิงชายและการพัฒนาในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงของประเทศไทย 3. การพัฒนาที่เล็งเปาหมายไปยังเยาวชนและชุมชนเปนตัวขับเคลื่อน ผลสัมฤทธิ์และบทเรียน 4. ลักษณะโครงการ 5. การติดตามและประเมินผล 6. ทุนสนับสนุนการพัฒนาชุมชน (CDD) ขอคนพบและบทเรียนเพื่อการประยุกตใช 7. กองทุนประชาสังคม ขอคนพบและบทเรียนเพื่อการประยุกตใช 8. บทเรียนจากโครงการอาชีพของเงินทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาที่ขับเคลื่อนโดยชุมชน ที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยง 9. บทเรียนการเปนผูประสานงานในพื้นที่ ดวยแนวทางที่ชุมชนเปนหลักในการขับเคลื่อน 10. การเขาถึงแหลงทุน กรณีศึกษามุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย 11. ฐานขอมูลศูนยเฝาระวังสถานการณภาคใต: บริบท พัฒนาการ การประยุกตใชและผลกระทบ 7 World Bank Thailand 30th Floor, Siam Piwat Tower, 989 Rama 1 Road Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: +66 2686 8300 Email: thailand@worldbank.org http://www.worldbank.org/thailand Supported by